วันพฤหัสบดีที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2555
กฏบัตรของอาเซียน
กฏบัตรอาเซียน
“ASEAN Charter”
เพื่อให้กระบวนการรวมกลุ่มของอาเซียนมีพื้นฐานทางกฏหมายรองรับและมีพันธสัญญาต่อกันมากขึ้น และจะเป็นเสมือนธรรมนูญของอาเซียนในการรับมือความท้าทายใหม่ ๆ และส่งเสริมเอกภาพในการวมตัวกันของประเทศสมาชิก และเป็นก้าวสำคัญในการยกระดับการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกไปสู่การจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ค.ศ. 2015 ซึ่งประกอบด้วย 3 ด้านหลัก ได้แก่ ด้านความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคมและวัฒนธรรม
“ASEAN Charter”
แนวคิดของการจัดทำกฏบัตรอาเซียนเกิดขึ้นในกรอบกระบวนการปฏิรูปอาเซียน เพื่อสร้างสภาพนิติบุคคลของอาเซียนและจัดโครงการองค์กรเพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน โดยมุ่งเน้นการสร้างนิติฐานะ (legal status) ในเวทีระหว่างประเทศให้กับอาเซียน
วัตถุประสงค์ของการจัดทำกฏบัตรอาเซียน เพื่อให้กระบวนการรวมกลุ่มของอาเซียนมีพื้นฐานทางกฏหมายรองรับและมีพันธสัญญาต่อกันมากขึ้น และจะเป็นเสมือนธรรมนูญของอาเซียนในการรับมือความท้าทายใหม่ ๆ และส่งเสริมเอกภาพในการวมตัวกันของประเทศสมาชิก และเป็นก้าวสำคัญในการยกระดับการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกไปสู่การจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ค.ศ. 2015 ซึ่งประกอบด้วย 3 ด้านหลัก ได้แก่ ด้านความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคมและวัฒนธรรม
กฏหมายการศึกษาสำคัญที่สุด
การจัดตั้งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เกิดจากการที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ซึ่งเป็นกฎหมายทางการศึกษาที่เกิดขึ้นตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2542 ซึ่งเป็นกฎหมายทางการศึกษาที่เกิดขึ้นตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ประกอบกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารการกระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2546 กำหนดให้การบริหารและการจัดการขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดยคำนึงถึงปริมาณสถานศึกษา จำนวนประชากร วัฒนธรรม และความเหมาะสมด้านอื่น และให้มีสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อทำหน้าที่ในการดำเนินการให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นหน่วยงานที่อยู่ใต้การกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เกิดจากการที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ซึ่งเป็นกฎหมายทางการศึกษาที่เกิดขึ้นตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2542 ซึ่งเป็นกฎหมายทางการศึกษาที่เกิดขึ้นตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ประกอบกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารการกระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2546 กำหนดให้การบริหารและการจัดการขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดยคำนึงถึงปริมาณสถานศึกษา จำนวนประชากร วัฒนธรรม และความเหมาะสมด้านอื่น และให้มีสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อทำหน้าที่ในการดำเนินการให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นหน่วยงานที่อยู่ใต้การกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วันพฤหัสบดีที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
วันพฤหัสบดีที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2554
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)